ประสาทพระวิหาร ประสาทเขาพระวิหาร ปัญหาเขาพระวิหาร พระวิหาร ข่าวพระวิหาร ข้อพิพาทเขาพระวิหาร ศาลโลก
ปราสาทพระวิหาร (เขมร: ; ปฺราสาทพฺระวิหาร; ปราสาทเปรี๊ยะวิเฮียร์ - สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์[2]; อังกฤษ: Temple of Preah Vihear[3]) เป็นปราสาทหิน อยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก หรือ เทือกเขาพนมดงเร็กในภาษาเขมร (ซึ่งแปลว่า ภูเขาไม้คาน[4]) ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม พนมพระวิหาร อันหมายถึง บรรพตแห่งศาสนสถานอันศักดิ์สิทธิ์[2] ในพื้นที่ทับซ้อนชายแดนไทย-กัมพูชา ระหว่างอำเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร ของกัมพูชา และอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร เมื่อ พ.ศ. 2442 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"[5] นับเป็นปราสาทขอมที่สำคัญแห่งหนึ่ง ทั้งในแง่ประวัติศาสตร์การก่อสร้างเทวสถานของฮินดู ประวัติศาสตร์การเรียกร้องเขาพระวิหาร และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญทั้งของไทยและกัมพูชาด้วย ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 องค์การยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารให้เป็นมรดกโลกของกัมพูชา[6]
นามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" แปลว่า ภูเขาแห่งพระอิศวร[7] ซึ่งเกิดจากการสมาสกันของคำว่า "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร" (เทพองค์หนึ่งในศาสนาฮินดู)[8]
ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนผาเป้ยตาดีของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ตั้งอยู่ที่ละติจูดที่ 104 องศาตะวันออก 41 ลิปดา อยู่ในเขตหมู่บ้านภูมิซร็อล (แปลว่า บ้านต้นสน) ตำบลบึงมะลู (ปัจจุบันขึ้นกับตำบลเสาธงชัย) อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ประเทศไทย ห่างจากจังหวัดศรีสะเกษ 110 กิโลเมตร หลังจากคำพิพากษาของศาลโลกในปี พ.ศ. 2505 แล้ว ปราสาทพระวิหารอยู่ในบ้านสวายจรุม ตำบลก็อนตวต อำเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร (ภาษาเขมร: ស្រុកជាំក្សាន្ត ខេត្តព្រះវិហារ) ประเทศกัมพูชา ปราสาทตั้งอยู่ห่างจากปราสาทนครวัดในเมืองพระนคร 280 กิโลเมตร และห่างจากกรุงพนมเปญ 296 กิโลมตร[9]
ปราสาทพระวิหารมีความยาว 800 เมตร ตามแนวเหนือใต้ และส่วนใหญ่เป็นทางเข้ายาว และบันไดสูงถึงยอดเขา จนถึงส่วนปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ที่ยอดเขาทางใต้สุดของปราสาท (สูง 120 เมตรจากปลายตอนเหนือสุดของปราสาท, 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจากระดับน้ำทะเล[10]) แต่โครงสร้างปราสาทแห่งนี้ก็ยังแตกต่างอย่างมากจาก สถาปัตยกรรมปราสาทหินของหินโดยทั่วไปที่พบในพระนคร เพื่อจำลองเขาพระสุเมรุ อันเป็นที่ประทับของเทพเจ้า ตามคติความเชื่อของฮินดู
ทางเข้าสู่ปราสาทประธานนั้น มีโคปุระ (ซุ้มประตู[1]) คั่นอยู่ 5 ชั้น (ปกติจะนับจากชั้นในออกมา ดังนั้นโคปุระชั้นที่ 5 จึงเป็นส่วนที่ผู้เข้าชมจะพบเป็นส่วนแรก) โคปุระแต่ละชั้นก่อนถึงลานด้านหน้า จะผ่านบันไดหลายขั้น โคปุระแต่ละชั้นจึงเปลี่ยนระดับความสูงทีละช่วง นอกจากนี้โคปะรุยังบังมิให้ผู้ชมเห็นส่วนถัดไปของปราสาท จนกว่าจะผ่านทะลุแต่ละช่วงไปแล้ว ทำให้ไม่สามารถแลเห็นโครงสร้างปราสาททั้งหมดจากมุมใดมุมหนึ่งได้
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
- http://clipfootballsp.blogspot.com
- http://entersoftbodysoft.blogspot.com
- http://www.clip-d.blogspot.com
- http://retrosoft.blogspot.com
- http://www.learningforex-non.blogspot.com
- http://fun4pic.blogspot.com
- http://datinglovetipz.blogspot.com
ปราสาทพระวิหาร เป็น มรดกโลก - http://www.siamrath.co.th/UIFont/Articledetail.aspx?nid=454&acid=454
ปราสาทพระวิหาร สร้างขึ้นด้วยความสามารถของ ช่างโบราณ ใน สมัยขอม ปราสาทพระวิหาร เป็น มรดกโลก
ข้อพิพาท ปราสาทพระวิหาร - http://forum.serithai.net/index.php?topic=28045.0
ข้อพิพาทไทย-กัมพูชา ใน ปราสาทพระวิหาร ข้อมูลจาก อดีตเอกอัครราชทูตไทย
คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 - http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2505
แผนที่ B มาตราส่วน 1:200000 แสดงภาพรวมที่ตั้งปราสาทพระวิหารและแนวเส้นเขตแดนตาม แผนที่ของฝรั่งเศสเมื่อ 100 ปีก่อน (Line 1) กับเส้นเขตแดนที่ไทยกล่าวอ้าง
ยอดเขาพระวิหาร - http://www.oknation.net/blog/print.php?id=65617
ปราสาทพระวิหาร ศรีสะเกษ ตั้งอยู่บน ยอดเขาพระวิหาร ใน เทือกเขาพนมดงรัก
มุมมองกรณี ปราสาทพระวิหาร - http://www.newspnn.com/detail.php?dataid=5659
ข้อเท็จจริงและมุมมองกรณีปราสาทพระวิหาร
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร - http://www3.nesac.go.th/PreahVihear/forum/index.php?topic=4.0
ผู้ค้นพบปราสาทพระวิหารในสมัยปัจจุบันคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ...
- Read more
ปราสาทพระวิหาร ศรีสะเกษ - http://www.ancientcity.com/?q=/th/location/PrasatPhraWihan_SiSaKet
ปราสาทพระวิหาร เป็น ศาสนสถาน ในคติฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ตั้งอยู่บน ยอดเขาพระวิหาร ในเขต เทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งกั้นแดนไทย-กัมพูชาจ.
ไทยแพ้คดี ปราสาทเขาพระวิหาร - http://hilight.kapook.com/view/20151
ประเด็นเรื่อง ปราสาทพระวิหาร กลายเป็นหัวข้อที่สาธารณชนให้ความสนใจอีกครั้ง ... เหตุผลที่คนไทยไม่ค่อยรู้ความเป็นมาเป็นไปในคดีปราสาทพระวิหารอาจเป็น
เขมรมองไทย ปราสาทพระวิหาร - http://www.prachathai.com/05web/th/home/page2.php?mod=mod_ptcms&ID=12933&Key=HilightNews
บทความ : เขมรมองไทย สะท้อนปราสาทพระวิหาร
วันเวลากับ ปราสาทพระวิหาร - http://onknow.blogspot.com/2008/07/blog-post_13.html
ประเทศฝรั่งเศสเข้าครอบครองอินโดจีน ได้ทำสนธิสัญญาปักปันเขตแดน ระบุให้ใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนไทย
ปราสาทพระวิหาร - วิกิพีเดีย - http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3
นามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" แปลว่า ภูเขาแห่งพระอิศวร [7] ซึ่งเกิดจากการสมาสกันของคำว่า "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร"
ลัทธิชาตินิยม ปราสาทพระวิหาร - http://www.midnightuniv.org/forum/index.php?topic=9103.0
หลุมดำ ลัทธิชาตินิยม ปราสาทพระวิหาร ไทย และ กัมพูชา ประวัติศาสตร์ แผลเก่า
1 ความคิดเห็น:
ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆครับ
แสดงความคิดเห็น